اهل بیت علیهم السلام

   วันหนึ่งท่านนบีได้เข้ามาในบ้านและได้ยินเสียงสนทนาของท่านหญิง จึงได้ถามขึ้นว่า”โอ้คอดียะฮเจ้าพูดคุย สนทนากับใครกันหรือ?” ท่านหญิงได้ตอบกับท่านนบีว่า”บุตรน้อยในครรภ์ของดิฉันได้พูดคุย หยอกล้อกับฉัน” ท่านนบีได้กล่าวต่อกับท่านหญิงว่า “โอ้คอดียะฮ ท่านญิบรออีลได้มาแจ้งข่าวดีกับฉันว่า ทารกในครรภ์นั้นเป็นเพศหญิงที่เต็มไปด้วย รัศมีและความบริสุทธิ์ และบรรดาอิมามผู้สืบทอดตำแหน่งจากฉัน ก็จะมาจากทารกน้อยผู้นี้”
   วันหนึ่งท่านนบีได้เข้ามาในบ้านและได้ยินเสียงสนทนาของท่านหญิง จึงได้ถามขึ้นว่า”โอ้คอดียะฮเจ้าพูดคุย สนทนากับใครกันหรือ?” ท่านหญิงได้ตอบกับท่านนบีว่า”บุตรน้อยในครรภ์ของดิฉันได้พูดคุย หยอกล้อกับฉัน”
 การระมัดระวังตนในการปฏิสัมพันธ์กับชายที่แปลกหน้า(เพศตรงข้าม)ในลักษณะเช่นนี้เป็นอุปนิสัยและมารยาทที่ติดกายของท่านหญิงฟาฏิมะฮ์อัซซะรอ(ซ.) ตลอดมา
 การระมัดระวังตนในการปฏิสัมพันธ์กับชายที่แปลกหน้า(เพศตรงข้าม)ในลักษณะเช่นนี้เป็นอุปนิสัยและมารยาทที่ติดกายของท่านหญิงฟาฏิมะฮ์อัซซะรอ(ซ.) ตลอดมา
ท่านศาสดามุฮัมมัด(ซล) กล่าวว่า  "ฟาฏิมะฮ์คือ ส่วนหนึ่งของฉัน ใครที่ทำให้นางโกรธ ก็เท่ากับทำให้ฉันโกรธ" (หนังสือ บุคอรี บาบ มุนากิบ ฟาฏิมะฮ์ เลขที่ 3714)
ท่านศาสดามุฮัมมัด(ซล) กล่าวว่า  "ฟาฏิมะฮ์คือ ส่วนหนึ่งของฉัน ใครที่ทำให้นางโกรธ ก็เท่ากับทำให้ฉันโกรธ" (หนังสือ บุคอรี บาบ มุนากิบ ฟาฏิมะฮ์ เลขที่ 3714)
เดือนซอฟัร เป็นเดือนแห่งความโศกเศร้าเนื่องจากในประวัติศาสตร์ เดือนนี้มีเหตุการณ์สำคัญที่น่าเศร้าเกิดขึ้นกับโลกมุสลิมหลายเหตุการณ์ นับตั้งแต่ต้นเดือนที่มุสลิมยังไม่คลายความโศกเศร้าจากเหตุการณ์วันอาชูรอ มุสลิมที่รักอิมามฮุเซน(อ.) จะยังอยู่ในช่วงการไว้อาลัยต่ออิมามฮุเซน(อ.) มาจนถึงวันที่ 20 ซอฟัร ซึ่งตรงกับวันอัรบะอีน
เดือนซอฟัร เป็นเดือนแห่งความโศกเศร้าเนื่องจากในประวัติศาสตร์ เดือนนี้มีเหตุการณ์สำคัญที่น่าเศร้าเกิดขึ้นกับโลกมุสลิมหลายเหตุการณ์ นับตั้งแต่ต้นเดือนที่มุสลิมยังไม่คลายความโศกเศร้าจากเหตุการณ์วันอาชูรอ มุสลิมที่รักอิมามฮุเซน(อ.)
อัรบะอีน เป็นคำภาษาอาหรับ แปลว่า "สี่สิบ" สำหรับมุสลิมชีอะฮ์ อัรบะอีน คือวาระครบรอบ 40 วัน หลังเหตุการณ์แห่งอาชูรอหรือการพลีชีพและถูกตัดศีรษะของอิมามฮุเซน (อ.) หลานชายของศาสดามุฮัมมัด(ศ.) ซึ่งตรงกับวันที่ 20 ซอฟัร เป็นอีกวันหนึ่งเพื่อการรำลึกถึงอิมามฮุเซน(อ.) และผู้สนับสนุนท่านอีก 72 คนที่พลีชีพในสงครามแห่งกัรบะลา ระยะเวลา 40 วัน คือช่วงเวลาแห่งความเศร้าโศกตามวัฒนธรรมของมุสลิม
อัรบะอีน เป็นคำภาษาอาหรับ แปลว่า "สี่สิบ" สำหรับมุสลิมชีอะฮ์ อัรบะอีน คือวาระครบรอบ 40 วัน หลังเหตุการณ์แห่งอาชูรอหรือการพลีชีพและถูกตัดศีรษะของอิมามฮุเซน (อ.) หลานชายของศาสดามุฮัมมัด(ศ.) ซึ่งตรงกับวันที่ 20 ซอฟัร เป็นอีกวันหนึ่งเพื่อการรำลึกถึงอิมามฮุเซน
ในอัสบาบุลนุซูลได้กล่าวว่า คนยากจนคนหนึ่งได้เข้ามาในมัสญิดนบี และได้ขอความช่วยเหลือจากประชาชนแต่ไม่มีใครให้ความช่วยเหลือแก่เขา ท่านอิมามอะลี (อ.) ได้แสดงสัญลักษณ์แก่เขาขณะที่ท่านกำลังทำรุกูอฺอยู่ และท่านได้บริจาคแหวนของท่านแก่เขาหลังจากนั้นโองการอัล-กุรอานดังกล่าวได้ถูกประทานลงมาให้เพื่อเป็นเกียรติกับท่านอิมามอะลี (อ.)
ในอัสบาบุลนุซูลได้กล่าวว่า คนยากจนคนหนึ่งได้เข้ามาในมัสญิดนบี และได้ขอความช่วยเหลือจากประชาชนแต่ไม่มีใครให้ความช่วยเหลือแก่เขา ท่านอิมามอะลี (อ.) ได้แสดงสัญลักษณ์แก่เขาขณะที่ท่านกำลังทำรุกูอฺอยู่ และท่านได้บริจาคแหวนของท่านแก่เขา
ประเด็นดังกล่าวเป็นที่ทราบกันดีทั้งสุนีและชีอะฮฺว่า ท่านหญิงฟาฏิมะฮฺ (อ.) เป็นหนึ่งในบุคคลที่ซูเราะฮฺ هل اتىได้ประทานลงมาให้โดยมีความเห็นพร้องตรงกัน
ประเด็นดังกล่าวเป็นที่ทราบกันดีทั้งสุนนีและชีอะฮฺว่า ท่านหญิงฟาฏิมะฮฺ (อ.) เป็นหนึ่งในบุคคลที่ซูเราะฮฺ هل اتىได้ประทานลงมาให้โดยมีความเห็นพร้องตรงกัน
ริวายะฮฺทั้งสุนนีและชีอะฮฺได้กล่าวว่า الْيَوْمَ أَكْمَلْتُ لَكُمْ دِينَكُمْ ได้ถูกประทานลงมาภายหลังจากที่ได้แต่งตั้งท่านอิมามอะลี(อ.)ให้เป็นตัวแทนของท่านศาสดา และดำรงตำแหน่งอิมามเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ณ ฆ่อดีรฺคุม
ริวายะฮฺทั้งสุนนีและชีอะฮฺได้กล่าวว่า الْيَوْمَ أَكْمَلْتُ لَكُمْ دِينَكُمْ ได้ถูกประทานลงมาภายหลังจากที่ได้แต่งตั้งท่านอิมามอะลี(อ.)ให้เป็นตัวแทนของท่านศาสดา และดำรงตำแหน่งอิมามเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ณ ฆ่อดีรฺคุม
จากริวายะฮฺทั้งสุนนีและชีอะฮฺได้รายงานว่า จุดประสงค์ของถ้อยคำที่ท่านศาสดาอาดัม ได้เรียนรู้และได้ทำการเตาบะฮฺด้วยกับถ้อยคำนั้นคือ การตะวัสซุลไปยังสิ่งถูกสร้างที่ดีและประเสริฐที่สุดของอัลลอฮฺ (ซบ.) นั้นคือท่านศาสดามุฮัมมัด (ศ็อลฯ) และอะหฺลุบัยตฺของท่าน
จากริวายะฮฺทั้งสุนนีและชีอะฮฺได้รายงานว่า จุดประสงค์ของถ้อยคำที่ท่านศาสดาอาดัม ได้เรียนรู้และได้ทำการเตาบะฮฺด้วยกับถ้อยคำนั้นคือ การตะวัสซุลไปยังสิ่งถูกสร้างที่ดีและประเสริฐที่สุดของอัลลอฮฺ (ซบ.) นั้นคือท่านศาสดามุฮัมมัด (ศ็อลฯ) และอะหฺลุบัยตฺของท่าน
ดังนั้นผู้ใดที่โต้เถียงเจ้าในเรื่องของเขา (อีซา) หลังจากที่ได้มีความรู้มายังเจ้าแล้ว จงกล่าวเถิดว่า ท่านทั้งหลายจงมาเราก็จะเรียกลูก ๆ ของเรา และลูกของพวกท่านและเรียกบรรดาผู้หญิงของเรา และบรรดาผู้หญิงของพวกท่าน และตัวของพวกเรา และตัวของพวกท่าน และเราก็จะการสาบถกัน (ต่ออัลลอฮฺ) ด้วยความนอบน้อม โดยที่เราจะขอให้การสาปแช่งของอัลลอฮฺ พึงประสบแก่บรรดาผู้ที่พูดโกหก
โองการที่ ๖๑ ซูเราะฮฺอาลิอิมรอน กล่าวถึงกลุ่มชนที่เป็นตัวแทนของสัจธรรมในการกล่าวสาบถถึงความสัตย์จริงของอิสลามกับพวกนัศรอนีซึ่งผู้ที่พ่ายแพ้ในวันนี้จะได้รับการสาปแช่งจากอัลลอฮฺในฐานะของผู้อธรรมและพูดโกหก และในวันนั้นท่านศาสดา (ศ็อลฯ) ได้พาท่านหญิงฟาฏิมะฮฺ
โองการที่ ๒๓ ซูเราะฮฺอัชชูรอ กล่าวถึง สิทธิของความรักที่มวลมนุษย์ต้องมอบให้กับอะฮ์ลุลบัยต์ (อ.) ทายาทชั้นใกล้ชิด (กุรฺบา) ของท่านศาสดา (ศ็อลฯ) ตามบัญชาของอัลลอฮฺ
โองการที่ ๒๓ ซูเราะฮฺอัชชูรอ กล่าวถึง สิทธิของความรักที่มวลมนุษย์ต้องมอบให้กับอะฮ์ลุลบัยต์ (อ.) ทายาทชั้นใกล้ชิด (กุรฺบา) ของท่านศาสดา (ศ็อลฯ) ตามบัญชาของอัลลอฮฺ
โองการที่ ๓๓ ซูเราะฮฺอัลอะฮ์ซาบ กล่าวถึง ความบริสุทธิ์ของอะฮ์ลุลบัยต์ (อ.) ในฐานะของผู้ที่เป็นมะฮฺซูมปราศจากความผิดบาป
โองการที่ ๓๓ ซูเราะฮฺอัลอะฮ์ซาบ กล่าวถึง ความบริสุทธิ์ของอะฮ์ลุลบัยต์ (อ.) ในฐานะของผู้ที่เป็นมะฮฺซูมปราศจากความผิดบาป
สัญญาณต่างๆ ของการปรากฏตัว (ซุฮูร) ของอิมามมะฮ์ดี (อ.ญ.) จะช่วยให้เกิดความรอบคอบในการมองการณ์ไกลไปในอนาคตในสังคมแห่งการรอคอยการมาของอิมามมะฮ์ดี (อ.ญ.) และจะช่วยเสริมสร้างความรู้และความเข้าใจแก่พวกเขาเกี่ยวกับสถานการณ์ต่างๆ ของโลกเพิ่มมากขึ้น
สัญญาณต่างๆ ของการปรากฏตัว (ซุฮูร) ของอิมามมะฮ์ดี (อ.ญ.) จะช่วยให้เกิดความรอบคอบในการมองการณ์ไกลไปในอนาคตในสังคมแห่งการรอคอยการมาของอิมามมะฮ์ดี (อ.ญ.) และจะช่วยเสริมสร้างความรู้และความเข้าใจแก่พวกเขาเกี่ยวกับสถานการณ์ต่างๆ ของโลกเพิ่มมากขึ้น
 ชีวประวัติของอิมามฮะซัน อัสกะรีย์ (อ.) ท่านอิมามที่ 11 แห่งวงศ์วานอะฮ์ลุลบัยต์ 
อิมามฮะซัน อัสกะรีย์ ถือกำเนิดเมื่อวันที่ 8 เดือนรอบิอุษษานี  ในปีฮิจเราะฮ์ศักราช 232 ณ เมืองมะดีนะฮ์ อันศักดิ์สิทธิ์  และเมื่ออิมามฮะซัน อัสกะรีย์(อ.) ถือกำเนิด อิมามอะลี ฮาดีย์(อ.) บิดาของท่านกล่าวว่า เป็นคำสั่งจากท่านศาสดา(ศ.) ให้ตั้งชื่อท่านว่า ฮะซัน
นอกจากนั้นก็มีเรื่องมากมายหลายรูปแบบ บางคนอาจจะไม่ถูกลงโทษเลย อัลลอฮฺ(ซบ) ทรงประวิงเวลา คือให้โอกาส 40 วัน  ดูว่าในช่วง 40  วันนี้จะมีใครมาช่วยเขา  ในความจริงแล้วนั้น ที่มาของการทำบุญ 40 วัน  ท่านนบี(ซล) เป็นผู้สั่งให้ทำบุญ 40 วันเอง  และตัวเลข 40 นั้นเป็นตัวเลขที่สำคัญตัวเลขหนึ่งในอิสลาม
นอกจากนั้นก็มีเรื่องมากมายหลายรูปแบบ บางคนอาจจะไม่ถูกลงโทษเลย อัลลอฮฺ(ซบ) ทรงประวิงเวลา คือให้โอกาส 40 วัน ดูว่าในช่วง 40 วันนี้จะมีใครมาช่วยเขา ในความจริงแล้วนั้น ที่มาของการทำบุญ 40 วัน ท่านนบี(ซล) เป็นผู้สั่งให้ทำบุญ 40 วันเอง และตัวเลข 40
เราคือประติมากรรมของอัลลอฮฺ(ซบ) พี่น้องเข้าใจไหม?  ถ้าพี่น้องเป็นนักศิลปะ ถ้าพี่น้องปั้นรูปเหมือนคนจริงๆ เหมือนทุกอย่างเลย แต่มันเคลื่อนไหวไม่ได้เท่านั้น แต่ใครๆมาก็บอกว่าปั้นได้อย่างไร ประติมากรรมอันนี้มันยิ่งใหญ่
เราคือประติมากรรมของอัลลอฮฺ(ซบ) พี่น้องเข้าใจไหม? ถ้าพี่น้องเป็นนักศิลปะ ถ้าพี่น้องปั้นรูปเหมือนคนจริงๆ เหมือนทุกอย่างเลย แต่มันเคลื่อนไหวไม่ได้เท่านั้น แต่ใครๆมาก็บอกว่าปั้นได้อย่างไร ประติมากรรมอันนี้มันยิ่งใหญ่
ความตายไม่ได้มีความน่ากลัวใดๆสำหรับคนที่เข้าใจอย่างแท้จริง ปัญหาของมนุษย์มีอยู่ว่า ทำไมมนุษย์กลัวความตาย  ซึ่งมีหลายๆสาเหตุ และหลายๆปัจจัย หนึ่งในเหตุผลก็เพราะมนุษย์ไม่เข้าใจเป้าหมายในการสร้างมนุษย์  เรามิได้ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อให้อยู่บนโลกนี้อย่างจีรัง แต่ต้องกลับสู่อีกชีวิตหนึ่งที่นิรันดร์ และเป็นชีวิตที่อมตะ
ความตายไม่ได้มีความน่ากลัวใดๆสำหรับคนที่เข้าใจอย่างแท้จริง ปัญหาของมนุษย์มีอยู่ว่า ทำไมมนุษย์กลัวความตาย ซึ่งมีหลายๆสาเหตุ และหลายๆปัจจัย หนึ่งในเหตุผลก็เพราะมนุษย์ไม่เข้าใจเป้าหมายในการสร้างมนุษย์ เรามิได้ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อให้อยู่บนโลกนี้อย่างจีรัง
ทำไมมันไม่ใช่มาตรวัด? นั่นก็เพราะมนุษย์มิได้ถูกส่งลงมาเพื่อสิ่งเหล่านี้  มนุษย์มิได้ถูกส่งลงมาเพื่อหาความสุขในโลกดุนยานี้ แต่ในมุมมองที่ตรงกันข้ามนั้น จริงๆ แล้วผู้ที่จะประสบความสำเร็จในโลกนี้ เขาจะต้องอยู่ในโลกนี้อย่างยากลำบาก
ทำไมมันไม่ใช่มาตรวัด? นั่นก็เพราะมนุษย์มิได้ถูกส่งลงมาเพื่อสิ่งเหล่านี้ มนุษย์มิได้ถูกส่งลงมาเพื่อหาความสุขในโลกดุนยานี้ แต่ในมุมมองที่ตรงกันข้ามนั้น จริงๆ แล้วผู้ที่จะประสบความสำเร็จในโลกนี้ เขาจะต้องอยู่ในโลกนี้อย่างยากลำบาก
“อัรบะอีน” คือการรำลึก 40 วันแห่งอิสลามที่จัดขึ้นครั้งแรกและจัดขึ้นในเรื่องราวที่เกี่ยวกับท่านอิมามฮูเซน (อ) ซึ่งก่อนหน้านี้มีบุคคลมากมายได้เสียชีวิต มีคนดีมากมายได้จากโลกนี้ไป ทั้งบรรดาศาสดาและเอาลิยาอฺของอัลลอฮฺ (ซบ) แต่เราจะไม่พบว่า มี “อัรบะอีน” หรือการจัดรำลึก 40 วันของบุคคลเหล่านั้นเลย แม้กระทั่งการจากไปของท่านศาสดามุฮัมมัด (ศ) ก็ตาม?
“อัรบะอีน” คือการรำลึก 40 วันแห่งอิสลามที่จัดขึ้นครั้งแรกและจัดขึ้นในเรื่องราวที่เกี่ยวกับท่านอิมามฮูเซน (อ) ซึ่งก่อนหน้านี้มีบุคคลมากมายได้เสียชีวิต มีคนดีมากมายได้จากโลกนี้ไป ทั้งบรรดาศาสดาและเอาลิยาอฺของอัลลอฮฺ (ซบ) แต่เราจะไม่พบว่า มี “อัรบะอีน”
ท่านหญิงฟาฏิมะฮ์ อัซซะฮ์รอ (อ.) ถือว่าการปกป้องวิลายะฮ์ (อำนาจการปกครอง) และสิทธิอันชอบธรรมของท่านอิมามอะลี (อ.) ตราบเท่าชีวิตของท่านนั้น เป็นหน้าที่ประการหนึ่งจากพระผู้เป็นเจ้า
ท่านหญิงฟาฏิมะฮ์ อัซซะฮ์รอ (อ.) ถือว่าการปกป้องวิลายะฮ์ (อำนาจการปกครอง) และสิทธิอันชอบธรรมของท่านอิมามอะลี (อ.) ตราบเท่าชีวิตของท่านนั้น เป็นหน้าที่ประการหนึ่งจากพระผู้เป็นเจ้า

หน้า