اهل بیت علیهم السلام

ฐานะภาพของท่านหญิงฟาฏิมะฮ์(ซ.)สูงส่งถึงขั้นที่ว่าความพึงพอใจและความกริ้วโกรธของเธอ ถือเป็นมาตรวัดความพึงพอใจและความพิโรธของท่านนบี(ซ.ล.)และพระองค์อัลลอฮ์
ฐานะภาพของท่านหญิงฟาฏิมะฮ์(ซ.)สูงส่งถึงขั้นที่ว่าความพึงพอใจและความกริ้วโกรธของเธอ ถือเป็นมาตรวัดความพึงพอใจและความพิโรธของท่านนบี(ซ.ล.)และพระองค์อัลลอฮ์
  “เมื่อพวกเขาต้องการที่จะนำตัวท่านอะลี (อ.) ไปยังมัสยิดพวกเขาต้องเผชิญหน้ากับการต้านทานของท่านหญิงฟาฏิมะฮ์ (อ.) เพื่อที่จะยับยั้งและขัดขวางการนำตัวสามีของท่านไปนั้น ท่านหญิงฟาฏิมะฮ์ (อ.) ต้องเผชิญกับการถูกทำร้ายอย่างมากมายทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ โดยที่เราไม่อาจจะบรรยายเรื่องราวทั้งหมดเหล่านั้นได้ด้วยคำพูดและปากกา”
“เมื่อพวกเขาต้องการที่จะนำตัวท่านอะลี (อ.) ไปยังมัสยิดพวกเขาต้องเผชิญหน้ากับการต้านทานของท่านหญิงฟาฏิมะฮ์ (อ.) เพื่อที่จะยับยั้งและขัดขวางการนำตัวสามีของท่านไปนั้น ท่านหญิงฟาฏิมะฮ์ (อ.) ต้องเผชิญกับการถูกทำร้ายอย่างมากมายทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ
ท่านอิมามริฏอ (อ.) มีบทบาทสำคัญอย่างไรในการพิทักษ์ปกป้องอิสลามอันบริสุทธิ์ของท่านศาสดามุฮัมมัด (ซ็อลฯ) การฟื้นฟูคุณค่าต่างๆ แห่งอิสลาม และการเชิดชูหลักคำสอนของบรรดาอะฮ์ลุลบัยต์ (อ.) นั้น จำเป็นที่เราจะต้องมารู้จักถึงสถานภาพและความยิ่งใหญ่ของท่านอิมาม (อ.) โดยสังเขปเสียก่อน หนึ่งในแนวทางที่ดีที่สุดและละเอียดอ่อนที่สุดในการรู้จักบรรดาอิมาม (อ.) ของชีอะฮ์ นั่นก็คือ การพิจารณาถึง “อัลก๊อบ” (القاب) หรือ “สมญานาม” ที่ถูกขนานนามอันเป็นเฉพาะของท่านเหล่านั้น
ท่านอิมามริฏอ (อ.) มีบทบาทสำคัญอย่างไรในการพิทักษ์ปกป้องอิสลามอันบริสุทธิ์ของท่านศาสดามุฮัมมัด (ซ็อลฯ) การฟื้นฟูคุณค่าต่างๆ แห่งอิสลาม และการเชิดชูหลักคำสอนของบรรดาอะฮ์ลุลบัยต์ (อ.) นั้น จำเป็นที่เราจะต้องมารู้จักถึงสถานภาพและความยิ่งใหญ่ของท่านอิมาม (อ.)
ตามคำรายงาน (ริวายะฮ์) จำนวนมากที่ปรากฏอยู่ในหนังสือต่างๆ ทั้งของชีอะฮ์และซุนนีนั้น มุอาวิยะฮ์ บุตรของอบีซุฟยาน ได้ส่งยาพิษไปให้ญะอ์ดะฮ์ ลูกสาวของอัชอัษ บินเกซ ผู้ซึ่งมีบทบาทหลักในทุกๆ เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในสมัยของท่านอิมามอะลี (อ.) และมุอาวิยะฮ์ได้ให้คำมั่นสัญญากับญะอ์ดะฮ์ว่า หากนางสามารถสังหารอิมามฮะซัน (อ.) ได้ จะให้นางแต่งงานกับยะซีดลูกชายของตน ญะอ์ดะฮ์ได้ปฏิบัติตามแผนของมุอาวิยะฮ์ จึงวางยาพิษและสังหารท่านอิมามฮะซัน (อ.) ด้วยยาพิษที่มุอาวิยะฮ์ส่งมาให้ ในขณะที่ท่านอิมามฮะซัน (อ.) ถือศีลอด
ตามคำรายงาน (ริวายะฮ์) จำนวนมากที่ปรากฏอยู่ในหนังสือต่างๆ ทั้งของชีอะฮ์และซุนนีนั้น มุอาวิยะฮ์ บุตรของอบีซุฟยาน ได้ส่งยาพิษไปให้ญะอ์ดะฮ์ ลูกสาวของอัชอัษ บินเกซ ผู้ซึ่งมีบทบาทหลักในทุกๆ เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในสมัยของท่านอิมามอะลี (อ.)
สัญลักษณ์ของผู้ศรัทธานั้นมีห้าประการคือ การนมาซห้าสิบเอ็ดร่อกาอัต การอ่านซิยาเราะฮ์อัรบาอีน การสวมแหวนที่มือขวา การเอาหน้าผากสัมผัสดินในขณะซุญูด และการอ่านบิสมิลลาฮ์ด้วยเสียงดัง
ในวัฒนธรรมแห่ง “อาชูรออ์” คำว่า “อัรบาอีน” นั้นหมายถึงวันที่ 40 ของการเป็นชะฮีด ของท่านอิมามฮุเซน (อ.) ซึ่งตรงกับวันที่ 20 ของเดือนซอฟัร เป็นวันที่บรรดาชีอะฮ์อิมามิยะฮ์ให้ความสำคัญอย่างมากวันหนึ่ง มีการจัดมัจญ์ลิซและการรำลึกถึงวีรกรรม
ในวัฒนธรรมและหลักคำสอนของอิสลาม ตัวเลข 40 หรือ “อัรบะอีน” นั้น นับได้ว่ามีความสำคัญอย่างมาก และถูกปลูกฝังไว้ในความรู้สึกนึกคิดของประชาชาติมุสลิมมาตลอดทุกยุคทุกสมัย โดยเฉพาะอย่างยิ่งสำหรับชาวชีอะฮ์อิมามียะฮ์
ในวัฒนธรรมและหลักคำสอนของอิสลาม ตัวเลข 40 หรือ “อัรบะอีน” นั้น นับได้ว่ามีความสำคัญอย่างมาก และถูกปลูกฝังไว้ในความรู้สึกนึกคิดของประชาชาติมุสลิมมาตลอดทุกยุคทุกสมัย โดยเฉพาะอย่างยิ่งสำหรับชาวชีอะฮ์อิมามียะฮ์
ชาวชีอะฮ์บางคนเข้าใจว่า การร้องไห้ให้กับท่านอิมามฮุเซน (อ.) เป็นแนวทางหนึ่งสำหรับการได้รับชะฟาอะฮ์และการให้อภัยความผิดบาปเพียงเท่านั้น และการพลีชีพของท่านก็ไม่มีเป้าหมายอื่นใดนอกจากสิ่งนี้ ในทัศนะของพวกท่าน การไว้อาลัยและการร้องไห้แด่ท่านอิมามฮุเซน (อ.) หากไม่นำไปสู่การแก้ไขปรับปรุงและการเปลี่ยนแปลงตนเองนั้น จะเป็นสื่อแห่งการชะฟาอะฮ์ของอะฮ์ลุลบัยติ์ (อ.) หรือไม่
ชาวชีอะฮ์บางคนเข้าใจว่า การร้องไห้ให้กับท่านอิมามฮุเซน (อ.) เป็นแนวทางหนึ่งสำหรับการได้รับชะฟาอะฮ์และการให้อภัยความผิดบาปเพียงเท่านั้น และการพลีชีพของท่านก็ไม่มีเป้าหมายอื่นใดนอกจากสิ่งนี้ ในทัศนะของพวกท่าน การไว้อาลัยและการร้องไห้แด่ท่านอิมามฮุเซน (อ.)
วามทุกข์โศก (มุซีบัต) ที่เกิดขึ้นกับท่านอิมามฮุเซน (อ.) นั้นใหญ่หลวงและหนักหน่วงกว่าความทุกข์โศก (มุซีบัต) ทั้งมวล เพียงสาเหตุนี้ก็เพียงพอแล้วที่จะชี้ให้เห็นว่าทำไมเราจะต้องแสดงความเสียใจและจัดพิธีไว้อาลัยรำลึกแด่ท่านอิมามฮุเซน (อ.) มากกว่าอิมามท่านอื่นๆ
ความทุกข์โศก (มุซีบัต) ที่เกิดขึ้นกับท่านอิมามฮุเซน (อ.) นั้นใหญ่หลวงและหนักหน่วงกว่าความทุกข์โศก (มุซีบัต) ทั้งมวล เพียงสาเหตุนี้ก็เพียงพอแล้วที่จะชี้ให้เห็นว่าทำไมเราจะต้องแสดงความเสียใจและจัดพิธีไว้อาลัยรำลึกแด่ท่านอิมามฮุเซน (อ.) มากกว่าอิมามท่านอื่นๆ
ตำราอ้างอิงบางเล่มรายงานฮะดีษที่ระบุว่า ญินและมะลาอิกะฮ์ต่างก็เสนอตัวเพื่อช่วยเหลือท่านอิมามฮุเซน(อ.) อย่างไรก็ดี พระองค์เคยส่งมะลาอิกะฮ์หรือญินมาช่วยเหลือบรรดานบี(อ.)ครั้ง แล้วครั้งเล่า กุรอานกล่าวว่า "(จงรำลึกเถิด)เมื่อสูเจ้าวอนขอการช่วยเหลือจากพระองค์(เนื่องจากสถานการณ์ ตึงเครียดในสงครามบะดัร) และพระองค์ทรงตอบรับ (และกล่าวว่า) ข้าจะช่วยเหลือสูเจ้าด้วยมะลาอิกะฮ์พันองค์ที่ลงมาเป็นลำดับ"
ตำราอ้างอิงบางเล่มรายงานฮะดีษที่ระบุว่า ญินและมะลาอิกะฮ์ต่างก็เสนอตัวเพื่อช่วยเหลือท่านอิมามฮุเซน(อ.) อย่างไรก็ดี พระองค์เคยส่งมะลาอิกะฮ์หรือญินมาช่วยเหลือบรรดานบี(อ.)ครั้ง แล้วครั้งเล่า กุรอานกล่าวว่า "(จงรำลึกเถิด)เมื่อสูเจ้าวอนขอการช่วยเหลือจากพระองค์
การถือกำเนิดของอิมามฮุเซน(อ.)  หกเดือนหลังจากอิมามฮะซัน(อ.) ถือกำเนิด ท่านหญิงฟาฏิมะฮ์(อ.) ได้ตั้งครรภ์บุตรคนที่สอง แต่ท่านศาสดา(ศ.) ได้รับการแจ้งล่วงหน้าแล้วในเรื่องการถือกำเนิดของอิมามฮุเซน(อ.)  ในวันที่ 3 ของเดือนชะอฺบานอันจำเริญ ปีฮิจเราะฮ์ที่ 4 ท่านศาสนทูตแห่งอัลลอฮ์(ศ.) ได้รับแจ้งข่าวการถือกำเนิดของอิมามฮุเซน(อ.) ท่านจึงรีบไปที่บ้านของอิมามอะลี(อ.) และท่านหญิงฟาฏิมะฮ์(อ.)  ซอฟียะฮ์ บินตฺ อับดุลมุฏฏอลิบ, อัสมา บินตฺ อุมัยส์, และอุมมุ ซะลามะฮ์ อยู่ที่นั่นด้วยในยามที่อิมามฮุเซน(อ.) ถือกำเนิดการถือกำเนิด
การถือกำเนิดของอิมามฮุเซน(อ.) หกเดือนหลังจากอิมามฮะซัน(อ.) ถือกำเนิด ท่านหญิงฟาฏิมะฮ์(อ.) ได้ตั้งครรภ์บุตรคนที่สอง แต่ท่านศาสดา(ศ.) ได้รับการแจ้งล่วงหน้าแล้วในเรื่องการถือกำเนิดของอิมามฮุเซน(อ.) ในวันที่ 3 ของเดือนชะอฺบานอันจำเริญ ปีฮิจเราะฮ์ที่ 4
ขบวนการของท่านอิมามฮุเซน (อ) เริ่มต้นที่เมืองมักกะฮฺและมุ่งสู่กูฟะฮฺ ขบวนการปฏิวัติของท่านอิมามมะฮฺดี (อ) ก็จะเริ่มที่มักกะฮฺและจะมุ่งสู่กูฟะฮฺเช่นกัน
ขบวนการของท่านอิมามฮุเซน (อ) เริ่มต้นที่เมืองมักกะฮฺและมุ่งสู่กูฟะฮฺ ขบวนการปฏิวัติของท่านอิมามมะฮฺดี (อ) ก็จะเริ่มที่มักกะฮฺและจะมุ่งสู่กูฟะฮฺเช่นกัน
ความสัมพันธ์ระหว่างการปฏิวัติในกัรบาลาอฺกับการปฏิวัติของท่านอิมามมะฮฺดี(อ)
เริ่มตั้งแต่ การกิยามครั้งที่หนึ่งของ ‘กลุ่มเตาวาบีน’ ได้สังหารฆาตกรที่เป็นตัวสำคัญตายไปจำนวนหนึ่ง หลังจากขบวนการของเตาวาบีนถูกทำให้แพ้ลง การกิยามครั้งที่สอง เป็นการกิยามที่ยิ่งใหญ่กว่า ‘เตาวาบีน’ ก็คือ การกิยามของท่านมุคตาร อัซซะกอฟี
ค่ำคืนอาชูรอ คือ ค่ำคืนที่เราจะต้องสรุปเป้าหมายให้ได้ ว่า ทำไมวีรกรรมนี้ถูกกำหนดขึ้นมา? ทำไมพระองค์จึงได้อนุมัติการพลีนี้ให้เกิดขึ้น และอัลลอฮฺ (ซบ.)นั้น มีเป้าหมายสูงสุดคือสิ่งใด? ปราศจากการทำความเข้าใจ ,การรำลึก, การไว้ทุกข์, การร้องไห้ และการหลั่งน้ำตาจะไม่มีประโยชน์เท่าที่ควร เพราะวีรกรรมนี้ไม่ได้ถูกสร้างมาเพียงแค่การไว้ทุกข์ไว้อาลัย 
ค่ำคืนอาชูรอ คือ ค่ำคืนที่เราจะต้องสรุปเป้าหมายให้ได้ ว่า ทำไมวีรกรรมนี้ถูกกำหนดขึ้นมา? ทำไมพระองค์จึงได้อนุมัติการพลีนี้ให้เกิดขึ้น และอัลลอฮฺ (ซบ.)นั้น มีเป้าหมายสูงสุดคือสิ่งใด? ปราศจากการทำความเข้าใจ ,การรำลึก, การไว้ทุกข์, การร้องไห้ และการหลั่งน้ำตา
และพวกเขาได้ให้อาหารแก่คนยากจน เด็กกำพร้าและเชลยศึก ทั้งที่มีความปรารถนาต่อมัน (พวกเขากล่าวว่า) แท้จริงเราให้อาหารแก่พวกท่าน โดยหวังความโปรดปรานของอัลลอฮ์ เรามิได้หวังการตอบแทนและการขอบคุณจากพวกท่านแต่ประการใด
และพวกเขาได้ให้อาหารแก่คนยากจน เด็กกำพร้าและเชลยศึก ทั้งที่มีความปรารถนาต่อมัน (พวกเขากล่าวว่า) แท้จริงเราให้อาหารแก่พวกท่าน โดยหวังความโปรดปรานของอัลลอฮ์ เรามิได้หวังการตอบแทนและการขอบคุณจากพวกท่านแต่ประการใด
มุบาฮะละฮ์และอาชูรอคือสองเหตุการณ์ในสองห้วงกาลเวลาในประวัติศาสตร์ที่แตกต่าง เหตุการณ์มุบาฮะละฮ์นั้นเกิดขึ้นในวันที่ 23 ซุลฮิจญะฮ์ ปีฮศ. 8 ส่วนเหตุการณ์กัรบะลานั้นเกิดขึ้นในวันที่สิบ เดือนมุฮัรรอม ปีฮศ. 61 แต่ในความแตกต่างทางกาลเวลาและสถานที่นั้น ยังมีความคล้ายคลึงที่สำคัญแฝงอยู่มากมาย หนึ่งในความคล้ายคลึงที่สำคัญก็คือ ทั้งสองเหตุการณ์มี “ครอบครัว”เป็นองค์ประกอบหลัก
มุบาฮะละฮ์และอาชูรอคือสองเหตุการณ์ในสองห้วงกาลเวลาในประวัติศาสตร์ที่แตกต่าง เหตุการณ์มุบาฮะละฮ์นั้นเกิดขึ้นในวันที่ 23 ซุลฮิจญะฮ์ ปีฮศ. 8 ส่วนเหตุการณ์กัรบะลานั้นเกิดขึ้นในวันที่สิบ เดือนมุฮัรรอม ปีฮศ. 61 แต่ในความแตกต่างทางกาลเวลาและสถานที่นั้น
วันที่ 24 เดือนซุลฮิจญะฮ์ ปีฮิจเราะห์ศักราชที่ 10 มีเหตุการณ์สำคัญทางประวัติศาสตร์อิสลามเกิดขึ้น ซึ่งเป็นที่รู้จักในนาม “มุบาฮะละฮ์” อันเป็นที่มาของการประทานโองการอัลกุรอาน โองการที่ 61 จากบทอาลิอิมรอน  มุบาฮะละฮ์ เป็นอีกเหตุการณ์หนึ่งที่พิสูจน์ถึงความประเสริฐและสถานภาพอันยิ่งใหญ่ของอะฮ์ลุลบัยต์ (อ) ของท่านศาสดามุฮัมมัด (ศ)
วันที่ 24 เดือนซุลฮิจญะฮ์ ปีฮิจเราะห์ศักราชที่ 10 มีเหตุการณ์สำคัญทางประวัติศาสตร์อิสลามเกิดขึ้น ซึ่งเป็นที่รู้จักในนาม “มุบาฮะละฮ์” อันเป็นที่มาของการประทานโองการอัลกุรอาน โองการที่ 61 จากบทอาลิอิมรอน  มุบาฮะละฮ์ เป็นอีกเหตุการณ์หนึ่ง
ดังนั้นผู้ใดที่โต้เถียงเจ้า(มุฮัมมัด)ในเรื่องของอีซา(ว่าเป็นบุตรของพระเจ้า) หลังจากที่ได้มีความรู้มายังเจ้าแล้ว จงกล่าวเถิด(มุฮัมมัด)ว่า ท่านทั้งหลาย(ชาวคริสต์)จงมาเถิด เราก็จะเรียกลูก ๆ ของเรา และลูกของพวกท่านและเรียกบรรดาผู้หญิงของเรา และบรรดาผู้หญิงของพวกท่านและตัวของเรา และตัวของพวกท่าน และเราจะมาวิงวอน (ต่อพระเจ้า)กัน ด้วยความนอบน้อม โดยที่เราจะขอให้อัลลอฮ์ทรงลงโทษทัณฑ์แก่บรรดาผู้โกหก" (บทอาลิอิมรอน โองการ 61)
ดังนั้นผู้ใดที่โต้เถียงเจ้า(มุฮัมมัด)ในเรื่องของอีซา(ว่าเป็นบุตรของพระเจ้า) หลังจากที่ได้มีความรู้มายังเจ้าแล้ว จงกล่าวเถิด(มุฮัมมัด)ว่า ท่านทั้งหลาย(ชาวคริสต์)จงมาเถิด เราก็จะเรียกลูก ๆ ของเรา และลูกของพวกท่านและเรียกบรรดาผู้หญิงของเรา
วันที่ 18 ของเดือนซุลฮิจญะฮ์ คือวันอีดฆอดีร และถือเป็นวัน "อีดุลลอฮิ้ลอักบัร" เป็นวันอีดของพระองค์อัลลอฮ์ (ซ.บ) พระผู้ทรงยิ่งใหญ่ และเป็นวันอีดของท่านศาสดามุฮัมมัด (ศ)และบรรดาอะฮ์ลุลบัยต์ (อ)อันบริสุทธิ์
วันที่ 18 ของเดือนซุลฮิจญะฮ์ คือวันอีดฆอดีร และถือเป็นวัน "อีดุลลอฮิ้ลอักบัร" เป็นวันอีดของพระองค์อัลลอฮ์ (ซ.บ) พระผู้ทรงยิ่งใหญ่ และเป็นวันอีดของท่านศาสดามุฮัมมัด (ศ)และบรรดาอะฮ์ลุลบัยต์ (อ)อันบริสุทธิ์
วันแห่งฆอดีรคุมคือวันแห่งตัวแทนของพระผู้เป็นเจ้า หลังจากยุคแห่งศาสดานั้นจะต้องสิ้นสุดลง แล้วเหตุการณ์นั้นถูกสานต่อจากระบบวิลายัตของบรรดาอะอิมมะฮฺ (อ)เข้ามาสู่ระบบของ วิลายะตุ้ลฟะกีฮฺ
วันแห่งฆอดีรคุมคือวันแห่งตัวแทนของพระผู้เป็นเจ้า หลังจากยุคแห่งศาสดานั้นจะต้องสิ้นสุดลง แล้วเหตุการณ์นั้นถูกสานต่อจากระบบวิลายัตของบรรดาอะอิมมะฮฺ (อ)เข้ามาสู่ระบบของ วิลายะตุ้ลฟะกีฮฺ

หน้า