پیامبر اسلام ( ص )

มุบาฮะละฮ์และอาชูรอคือสองเหตุการณ์ในสองห้วงกาลเวลาในประวัติศาสตร์ที่แตกต่าง เหตุการณ์มุบาฮะละฮ์นั้นเกิดขึ้นในวันที่ 23 ซุลฮิจญะฮ์ ปีฮศ. 8 ส่วนเหตุการณ์กัรบะลานั้นเกิดขึ้นในวันที่สิบ เดือนมุฮัรรอม ปีฮศ. 61 แต่ในความแตกต่างทางกาลเวลาและสถานที่นั้น ยังมีความคล้ายคลึงที่สำคัญแฝงอยู่มากมาย หนึ่งในความคล้ายคลึงที่สำคัญก็คือ ทั้งสองเหตุการณ์มี “ครอบครัว”เป็นองค์ประกอบหลัก
มุบาฮะละฮ์และอาชูรอคือสองเหตุการณ์ในสองห้วงกาลเวลาในประวัติศาสตร์ที่แตกต่าง เหตุการณ์มุบาฮะละฮ์นั้นเกิดขึ้นในวันที่ 23 ซุลฮิจญะฮ์ ปีฮศ. 8 ส่วนเหตุการณ์กัรบะลานั้นเกิดขึ้นในวันที่สิบ เดือนมุฮัรรอม ปีฮศ. 61 แต่ในความแตกต่างทางกาลเวลาและสถานที่นั้น
วันที่ 24 เดือนซุลฮิจญะฮ์ ปีฮิจเราะห์ศักราชที่ 10 มีเหตุการณ์สำคัญทางประวัติศาสตร์อิสลามเกิดขึ้น ซึ่งเป็นที่รู้จักในนาม “มุบาฮะละฮ์” อันเป็นที่มาของการประทานโองการอัลกุรอาน โองการที่ 61 จากบทอาลิอิมรอน  มุบาฮะละฮ์ เป็นอีกเหตุการณ์หนึ่งที่พิสูจน์ถึงความประเสริฐและสถานภาพอันยิ่งใหญ่ของอะฮ์ลุลบัยต์ (อ) ของท่านศาสดามุฮัมมัด (ศ)
วันที่ 24 เดือนซุลฮิจญะฮ์ ปีฮิจเราะห์ศักราชที่ 10 มีเหตุการณ์สำคัญทางประวัติศาสตร์อิสลามเกิดขึ้น ซึ่งเป็นที่รู้จักในนาม “มุบาฮะละฮ์” อันเป็นที่มาของการประทานโองการอัลกุรอาน โองการที่ 61 จากบทอาลิอิมรอน  มุบาฮะละฮ์ เป็นอีกเหตุการณ์หนึ่ง
ดังนั้นผู้ใดที่โต้เถียงเจ้า(มุฮัมมัด)ในเรื่องของอีซา(ว่าเป็นบุตรของพระเจ้า) หลังจากที่ได้มีความรู้มายังเจ้าแล้ว จงกล่าวเถิด(มุฮัมมัด)ว่า ท่านทั้งหลาย(ชาวคริสต์)จงมาเถิด เราก็จะเรียกลูก ๆ ของเรา และลูกของพวกท่านและเรียกบรรดาผู้หญิงของเรา และบรรดาผู้หญิงของพวกท่านและตัวของเรา และตัวของพวกท่าน และเราจะมาวิงวอน (ต่อพระเจ้า)กัน ด้วยความนอบน้อม โดยที่เราจะขอให้อัลลอฮ์ทรงลงโทษทัณฑ์แก่บรรดาผู้โกหก" (บทอาลิอิมรอน โองการ 61)
ดังนั้นผู้ใดที่โต้เถียงเจ้า(มุฮัมมัด)ในเรื่องของอีซา(ว่าเป็นบุตรของพระเจ้า) หลังจากที่ได้มีความรู้มายังเจ้าแล้ว จงกล่าวเถิด(มุฮัมมัด)ว่า ท่านทั้งหลาย(ชาวคริสต์)จงมาเถิด เราก็จะเรียกลูก ๆ ของเรา และลูกของพวกท่านและเรียกบรรดาผู้หญิงของเรา