امام حسین علیه السلام

เดือนซอฟัร เป็นเดือนแห่งความโศกเศร้าเนื่องจากในประวัติศาสตร์ เดือนนี้มีเหตุการณ์สำคัญที่น่าเศร้าเกิดขึ้นกับโลกมุสลิมหลายเหตุการณ์ นับตั้งแต่ต้นเดือนที่มุสลิมยังไม่คลายความโศกเศร้าจากเหตุการณ์วันอาชูรอ มุสลิมที่รักอิมามฮุเซน(อ.) จะยังอยู่ในช่วงการไว้อาลัยต่ออิมามฮุเซน(อ.) มาจนถึงวันที่ 20 ซอฟัร ซึ่งตรงกับวันอัรบะอีน
เดือนซอฟัร เป็นเดือนแห่งความโศกเศร้าเนื่องจากในประวัติศาสตร์ เดือนนี้มีเหตุการณ์สำคัญที่น่าเศร้าเกิดขึ้นกับโลกมุสลิมหลายเหตุการณ์ นับตั้งแต่ต้นเดือนที่มุสลิมยังไม่คลายความโศกเศร้าจากเหตุการณ์วันอาชูรอ มุสลิมที่รักอิมามฮุเซน(อ.)
อัรบะอีน เป็นคำภาษาอาหรับ แปลว่า "สี่สิบ" สำหรับมุสลิมชีอะฮ์ อัรบะอีน คือวาระครบรอบ 40 วัน หลังเหตุการณ์แห่งอาชูรอหรือการพลีชีพและถูกตัดศีรษะของอิมามฮุเซน (อ.) หลานชายของศาสดามุฮัมมัด(ศ.) ซึ่งตรงกับวันที่ 20 ซอฟัร เป็นอีกวันหนึ่งเพื่อการรำลึกถึงอิมามฮุเซน(อ.) และผู้สนับสนุนท่านอีก 72 คนที่พลีชีพในสงครามแห่งกัรบะลา ระยะเวลา 40 วัน คือช่วงเวลาแห่งความเศร้าโศกตามวัฒนธรรมของมุสลิม
อัรบะอีน เป็นคำภาษาอาหรับ แปลว่า "สี่สิบ" สำหรับมุสลิมชีอะฮ์ อัรบะอีน คือวาระครบรอบ 40 วัน หลังเหตุการณ์แห่งอาชูรอหรือการพลีชีพและถูกตัดศีรษะของอิมามฮุเซน (อ.) หลานชายของศาสดามุฮัมมัด(ศ.) ซึ่งตรงกับวันที่ 20 ซอฟัร เป็นอีกวันหนึ่งเพื่อการรำลึกถึงอิมามฮุเซน
นอกจากนั้นก็มีเรื่องมากมายหลายรูปแบบ บางคนอาจจะไม่ถูกลงโทษเลย อัลลอฮฺ(ซบ) ทรงประวิงเวลา คือให้โอกาส 40 วัน  ดูว่าในช่วง 40  วันนี้จะมีใครมาช่วยเขา  ในความจริงแล้วนั้น ที่มาของการทำบุญ 40 วัน  ท่านนบี(ซล) เป็นผู้สั่งให้ทำบุญ 40 วันเอง  และตัวเลข 40 นั้นเป็นตัวเลขที่สำคัญตัวเลขหนึ่งในอิสลาม
นอกจากนั้นก็มีเรื่องมากมายหลายรูปแบบ บางคนอาจจะไม่ถูกลงโทษเลย อัลลอฮฺ(ซบ) ทรงประวิงเวลา คือให้โอกาส 40 วัน ดูว่าในช่วง 40 วันนี้จะมีใครมาช่วยเขา ในความจริงแล้วนั้น ที่มาของการทำบุญ 40 วัน ท่านนบี(ซล) เป็นผู้สั่งให้ทำบุญ 40 วันเอง และตัวเลข 40
เราคือประติมากรรมของอัลลอฮฺ(ซบ) พี่น้องเข้าใจไหม?  ถ้าพี่น้องเป็นนักศิลปะ ถ้าพี่น้องปั้นรูปเหมือนคนจริงๆ เหมือนทุกอย่างเลย แต่มันเคลื่อนไหวไม่ได้เท่านั้น แต่ใครๆมาก็บอกว่าปั้นได้อย่างไร ประติมากรรมอันนี้มันยิ่งใหญ่
เราคือประติมากรรมของอัลลอฮฺ(ซบ) พี่น้องเข้าใจไหม? ถ้าพี่น้องเป็นนักศิลปะ ถ้าพี่น้องปั้นรูปเหมือนคนจริงๆ เหมือนทุกอย่างเลย แต่มันเคลื่อนไหวไม่ได้เท่านั้น แต่ใครๆมาก็บอกว่าปั้นได้อย่างไร ประติมากรรมอันนี้มันยิ่งใหญ่
ความตายไม่ได้มีความน่ากลัวใดๆสำหรับคนที่เข้าใจอย่างแท้จริง ปัญหาของมนุษย์มีอยู่ว่า ทำไมมนุษย์กลัวความตาย  ซึ่งมีหลายๆสาเหตุ และหลายๆปัจจัย หนึ่งในเหตุผลก็เพราะมนุษย์ไม่เข้าใจเป้าหมายในการสร้างมนุษย์  เรามิได้ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อให้อยู่บนโลกนี้อย่างจีรัง แต่ต้องกลับสู่อีกชีวิตหนึ่งที่นิรันดร์ และเป็นชีวิตที่อมตะ
ความตายไม่ได้มีความน่ากลัวใดๆสำหรับคนที่เข้าใจอย่างแท้จริง ปัญหาของมนุษย์มีอยู่ว่า ทำไมมนุษย์กลัวความตาย ซึ่งมีหลายๆสาเหตุ และหลายๆปัจจัย หนึ่งในเหตุผลก็เพราะมนุษย์ไม่เข้าใจเป้าหมายในการสร้างมนุษย์ เรามิได้ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อให้อยู่บนโลกนี้อย่างจีรัง
ทำไมมันไม่ใช่มาตรวัด? นั่นก็เพราะมนุษย์มิได้ถูกส่งลงมาเพื่อสิ่งเหล่านี้  มนุษย์มิได้ถูกส่งลงมาเพื่อหาความสุขในโลกดุนยานี้ แต่ในมุมมองที่ตรงกันข้ามนั้น จริงๆ แล้วผู้ที่จะประสบความสำเร็จในโลกนี้ เขาจะต้องอยู่ในโลกนี้อย่างยากลำบาก
ทำไมมันไม่ใช่มาตรวัด? นั่นก็เพราะมนุษย์มิได้ถูกส่งลงมาเพื่อสิ่งเหล่านี้ มนุษย์มิได้ถูกส่งลงมาเพื่อหาความสุขในโลกดุนยานี้ แต่ในมุมมองที่ตรงกันข้ามนั้น จริงๆ แล้วผู้ที่จะประสบความสำเร็จในโลกนี้ เขาจะต้องอยู่ในโลกนี้อย่างยากลำบาก
“อัรบะอีน” คือการรำลึก 40 วันแห่งอิสลามที่จัดขึ้นครั้งแรกและจัดขึ้นในเรื่องราวที่เกี่ยวกับท่านอิมามฮูเซน (อ) ซึ่งก่อนหน้านี้มีบุคคลมากมายได้เสียชีวิต มีคนดีมากมายได้จากโลกนี้ไป ทั้งบรรดาศาสดาและเอาลิยาอฺของอัลลอฮฺ (ซบ) แต่เราจะไม่พบว่า มี “อัรบะอีน” หรือการจัดรำลึก 40 วันของบุคคลเหล่านั้นเลย แม้กระทั่งการจากไปของท่านศาสดามุฮัมมัด (ศ) ก็ตาม?
“อัรบะอีน” คือการรำลึก 40 วันแห่งอิสลามที่จัดขึ้นครั้งแรกและจัดขึ้นในเรื่องราวที่เกี่ยวกับท่านอิมามฮูเซน (อ) ซึ่งก่อนหน้านี้มีบุคคลมากมายได้เสียชีวิต มีคนดีมากมายได้จากโลกนี้ไป ทั้งบรรดาศาสดาและเอาลิยาอฺของอัลลอฮฺ (ซบ) แต่เราจะไม่พบว่า มี “อัรบะอีน”
สัญลักษณ์ของผู้ศรัทธานั้นมีห้าประการคือ การนมาซห้าสิบเอ็ดร่อกาอัต การอ่านซิยาเราะฮ์อัรบาอีน การสวมแหวนที่มือขวา การเอาหน้าผากสัมผัสดินในขณะซุญูด และการอ่านบิสมิลลาฮ์ด้วยเสียงดัง
ในวัฒนธรรมแห่ง “อาชูรออ์” คำว่า “อัรบาอีน” นั้นหมายถึงวันที่ 40 ของการเป็นชะฮีด ของท่านอิมามฮุเซน (อ.) ซึ่งตรงกับวันที่ 20 ของเดือนซอฟัร เป็นวันที่บรรดาชีอะฮ์อิมามิยะฮ์ให้ความสำคัญอย่างมากวันหนึ่ง มีการจัดมัจญ์ลิซและการรำลึกถึงวีรกรรม
ในวัฒนธรรมและหลักคำสอนของอิสลาม ตัวเลข 40 หรือ “อัรบะอีน” นั้น นับได้ว่ามีความสำคัญอย่างมาก และถูกปลูกฝังไว้ในความรู้สึกนึกคิดของประชาชาติมุสลิมมาตลอดทุกยุคทุกสมัย โดยเฉพาะอย่างยิ่งสำหรับชาวชีอะฮ์อิมามียะฮ์
ในวัฒนธรรมและหลักคำสอนของอิสลาม ตัวเลข 40 หรือ “อัรบะอีน” นั้น นับได้ว่ามีความสำคัญอย่างมาก และถูกปลูกฝังไว้ในความรู้สึกนึกคิดของประชาชาติมุสลิมมาตลอดทุกยุคทุกสมัย โดยเฉพาะอย่างยิ่งสำหรับชาวชีอะฮ์อิมามียะฮ์
ชาวชีอะฮ์บางคนเข้าใจว่า การร้องไห้ให้กับท่านอิมามฮุเซน (อ.) เป็นแนวทางหนึ่งสำหรับการได้รับชะฟาอะฮ์และการให้อภัยความผิดบาปเพียงเท่านั้น และการพลีชีพของท่านก็ไม่มีเป้าหมายอื่นใดนอกจากสิ่งนี้ ในทัศนะของพวกท่าน การไว้อาลัยและการร้องไห้แด่ท่านอิมามฮุเซน (อ.) หากไม่นำไปสู่การแก้ไขปรับปรุงและการเปลี่ยนแปลงตนเองนั้น จะเป็นสื่อแห่งการชะฟาอะฮ์ของอะฮ์ลุลบัยติ์ (อ.) หรือไม่
ชาวชีอะฮ์บางคนเข้าใจว่า การร้องไห้ให้กับท่านอิมามฮุเซน (อ.) เป็นแนวทางหนึ่งสำหรับการได้รับชะฟาอะฮ์และการให้อภัยความผิดบาปเพียงเท่านั้น และการพลีชีพของท่านก็ไม่มีเป้าหมายอื่นใดนอกจากสิ่งนี้ ในทัศนะของพวกท่าน การไว้อาลัยและการร้องไห้แด่ท่านอิมามฮุเซน (อ.)
วามทุกข์โศก (มุซีบัต) ที่เกิดขึ้นกับท่านอิมามฮุเซน (อ.) นั้นใหญ่หลวงและหนักหน่วงกว่าความทุกข์โศก (มุซีบัต) ทั้งมวล เพียงสาเหตุนี้ก็เพียงพอแล้วที่จะชี้ให้เห็นว่าทำไมเราจะต้องแสดงความเสียใจและจัดพิธีไว้อาลัยรำลึกแด่ท่านอิมามฮุเซน (อ.) มากกว่าอิมามท่านอื่นๆ
ความทุกข์โศก (มุซีบัต) ที่เกิดขึ้นกับท่านอิมามฮุเซน (อ.) นั้นใหญ่หลวงและหนักหน่วงกว่าความทุกข์โศก (มุซีบัต) ทั้งมวล เพียงสาเหตุนี้ก็เพียงพอแล้วที่จะชี้ให้เห็นว่าทำไมเราจะต้องแสดงความเสียใจและจัดพิธีไว้อาลัยรำลึกแด่ท่านอิมามฮุเซน (อ.) มากกว่าอิมามท่านอื่นๆ
ตำราอ้างอิงบางเล่มรายงานฮะดีษที่ระบุว่า ญินและมะลาอิกะฮ์ต่างก็เสนอตัวเพื่อช่วยเหลือท่านอิมามฮุเซน(อ.) อย่างไรก็ดี พระองค์เคยส่งมะลาอิกะฮ์หรือญินมาช่วยเหลือบรรดานบี(อ.)ครั้ง แล้วครั้งเล่า กุรอานกล่าวว่า "(จงรำลึกเถิด)เมื่อสูเจ้าวอนขอการช่วยเหลือจากพระองค์(เนื่องจากสถานการณ์ ตึงเครียดในสงครามบะดัร) และพระองค์ทรงตอบรับ (และกล่าวว่า) ข้าจะช่วยเหลือสูเจ้าด้วยมะลาอิกะฮ์พันองค์ที่ลงมาเป็นลำดับ"
ตำราอ้างอิงบางเล่มรายงานฮะดีษที่ระบุว่า ญินและมะลาอิกะฮ์ต่างก็เสนอตัวเพื่อช่วยเหลือท่านอิมามฮุเซน(อ.) อย่างไรก็ดี พระองค์เคยส่งมะลาอิกะฮ์หรือญินมาช่วยเหลือบรรดานบี(อ.)ครั้ง แล้วครั้งเล่า กุรอานกล่าวว่า "(จงรำลึกเถิด)เมื่อสูเจ้าวอนขอการช่วยเหลือจากพระองค์
การถือกำเนิดของอิมามฮุเซน(อ.)  หกเดือนหลังจากอิมามฮะซัน(อ.) ถือกำเนิด ท่านหญิงฟาฏิมะฮ์(อ.) ได้ตั้งครรภ์บุตรคนที่สอง แต่ท่านศาสดา(ศ.) ได้รับการแจ้งล่วงหน้าแล้วในเรื่องการถือกำเนิดของอิมามฮุเซน(อ.)  ในวันที่ 3 ของเดือนชะอฺบานอันจำเริญ ปีฮิจเราะฮ์ที่ 4 ท่านศาสนทูตแห่งอัลลอฮ์(ศ.) ได้รับแจ้งข่าวการถือกำเนิดของอิมามฮุเซน(อ.) ท่านจึงรีบไปที่บ้านของอิมามอะลี(อ.) และท่านหญิงฟาฏิมะฮ์(อ.)  ซอฟียะฮ์ บินตฺ อับดุลมุฏฏอลิบ, อัสมา บินตฺ อุมัยส์, และอุมมุ ซะลามะฮ์ อยู่ที่นั่นด้วยในยามที่อิมามฮุเซน(อ.) ถือกำเนิดการถือกำเนิด
การถือกำเนิดของอิมามฮุเซน(อ.) หกเดือนหลังจากอิมามฮะซัน(อ.) ถือกำเนิด ท่านหญิงฟาฏิมะฮ์(อ.) ได้ตั้งครรภ์บุตรคนที่สอง แต่ท่านศาสดา(ศ.) ได้รับการแจ้งล่วงหน้าแล้วในเรื่องการถือกำเนิดของอิมามฮุเซน(อ.) ในวันที่ 3 ของเดือนชะอฺบานอันจำเริญ ปีฮิจเราะฮ์ที่ 4
ขบวนการของท่านอิมามฮุเซน (อ) เริ่มต้นที่เมืองมักกะฮฺและมุ่งสู่กูฟะฮฺ ขบวนการปฏิวัติของท่านอิมามมะฮฺดี (อ) ก็จะเริ่มที่มักกะฮฺและจะมุ่งสู่กูฟะฮฺเช่นกัน
ขบวนการของท่านอิมามฮุเซน (อ) เริ่มต้นที่เมืองมักกะฮฺและมุ่งสู่กูฟะฮฺ ขบวนการปฏิวัติของท่านอิมามมะฮฺดี (อ) ก็จะเริ่มที่มักกะฮฺและจะมุ่งสู่กูฟะฮฺเช่นกัน
ความสัมพันธ์ระหว่างการปฏิวัติในกัรบาลาอฺกับการปฏิวัติของท่านอิมามมะฮฺดี(อ)
เริ่มตั้งแต่ การกิยามครั้งที่หนึ่งของ ‘กลุ่มเตาวาบีน’ ได้สังหารฆาตกรที่เป็นตัวสำคัญตายไปจำนวนหนึ่ง หลังจากขบวนการของเตาวาบีนถูกทำให้แพ้ลง การกิยามครั้งที่สอง เป็นการกิยามที่ยิ่งใหญ่กว่า ‘เตาวาบีน’ ก็คือ การกิยามของท่านมุคตาร อัซซะกอฟี
ค่ำคืนอาชูรอ คือ ค่ำคืนที่เราจะต้องสรุปเป้าหมายให้ได้ ว่า ทำไมวีรกรรมนี้ถูกกำหนดขึ้นมา? ทำไมพระองค์จึงได้อนุมัติการพลีนี้ให้เกิดขึ้น และอัลลอฮฺ (ซบ.)นั้น มีเป้าหมายสูงสุดคือสิ่งใด? ปราศจากการทำความเข้าใจ ,การรำลึก, การไว้ทุกข์, การร้องไห้ และการหลั่งน้ำตาจะไม่มีประโยชน์เท่าที่ควร เพราะวีรกรรมนี้ไม่ได้ถูกสร้างมาเพียงแค่การไว้ทุกข์ไว้อาลัย 
ค่ำคืนอาชูรอ คือ ค่ำคืนที่เราจะต้องสรุปเป้าหมายให้ได้ ว่า ทำไมวีรกรรมนี้ถูกกำหนดขึ้นมา? ทำไมพระองค์จึงได้อนุมัติการพลีนี้ให้เกิดขึ้น และอัลลอฮฺ (ซบ.)นั้น มีเป้าหมายสูงสุดคือสิ่งใด? ปราศจากการทำความเข้าใจ ,การรำลึก, การไว้ทุกข์, การร้องไห้ และการหลั่งน้ำตา