مقالات

ตำราอ้างอิงบางเล่มรายงานฮะดีษที่ระบุว่า ญินและมะลาอิกะฮ์ต่างก็เสนอตัวเพื่อช่วยเหลือท่านอิมามฮุเซน(อ.) อย่างไรก็ดี พระองค์เคยส่งมะลาอิกะฮ์หรือญินมาช่วยเหลือบรรดานบี(อ.)ครั้ง แล้วครั้งเล่า กุรอานกล่าวว่า "(จงรำลึกเถิด)เมื่อสูเจ้าวอนขอการช่วยเหลือจากพระองค์(เนื่องจากสถานการณ์ ตึงเครียดในสงครามบะดัร) และพระองค์ทรงตอบรับ (และกล่าวว่า) ข้าจะช่วยเหลือสูเจ้าด้วยมะลาอิกะฮ์พันองค์ที่ลงมาเป็นลำดับ"
ตำราอ้างอิงบางเล่มรายงานฮะดีษที่ระบุว่า ญินและมะลาอิกะฮ์ต่างก็เสนอตัวเพื่อช่วยเหลือท่านอิมามฮุเซน(อ.) อย่างไรก็ดี พระองค์เคยส่งมะลาอิกะฮ์หรือญินมาช่วยเหลือบรรดานบี(อ.)ครั้ง แล้วครั้งเล่า กุรอานกล่าวว่า "(จงรำลึกเถิด)เมื่อสูเจ้าวอนขอการช่วยเหลือจากพระองค์
การถือกำเนิดของอิมามฮุเซน(อ.)  หกเดือนหลังจากอิมามฮะซัน(อ.) ถือกำเนิด ท่านหญิงฟาฏิมะฮ์(อ.) ได้ตั้งครรภ์บุตรคนที่สอง แต่ท่านศาสดา(ศ.) ได้รับการแจ้งล่วงหน้าแล้วในเรื่องการถือกำเนิดของอิมามฮุเซน(อ.)  ในวันที่ 3 ของเดือนชะอฺบานอันจำเริญ ปีฮิจเราะฮ์ที่ 4 ท่านศาสนทูตแห่งอัลลอฮ์(ศ.) ได้รับแจ้งข่าวการถือกำเนิดของอิมามฮุเซน(อ.) ท่านจึงรีบไปที่บ้านของอิมามอะลี(อ.) และท่านหญิงฟาฏิมะฮ์(อ.)  ซอฟียะฮ์ บินตฺ อับดุลมุฏฏอลิบ, อัสมา บินตฺ อุมัยส์, และอุมมุ ซะลามะฮ์ อยู่ที่นั่นด้วยในยามที่อิมามฮุเซน(อ.) ถือกำเนิดการถือกำเนิด
การถือกำเนิดของอิมามฮุเซน(อ.) หกเดือนหลังจากอิมามฮะซัน(อ.) ถือกำเนิด ท่านหญิงฟาฏิมะฮ์(อ.) ได้ตั้งครรภ์บุตรคนที่สอง แต่ท่านศาสดา(ศ.) ได้รับการแจ้งล่วงหน้าแล้วในเรื่องการถือกำเนิดของอิมามฮุเซน(อ.) ในวันที่ 3 ของเดือนชะอฺบานอันจำเริญ ปีฮิจเราะฮ์ที่ 4
หากการรักต่อวงศ์วานของมูฮัมมัด จะทำให้กลายเป็นรอฟิเฎาะฮ์แล้วไซร์ โอ้ญิน และมนุษย์เอ๋ย จงมาเป็นพยานเถิดว่า ฉันก็คือ รอฟิเฎาะฮ คนหนึ่ง
ความรุนแรงของการให้ความหมายคำว่า รอฟิเฎาะฮ์ ส่งผลให้เกิดมุมมองว่า พวกเขาเป็นผู้หลงทาง เพราะมอบความรักให้ลูกหลานนบี (ศ) ยุคสมัยนั้น การแสดงความรักต่อลูกหลานศาสดามูฮัมมัด (ศ) จึงถูกถือเป็นข้อห้าม และจะถูกมองว่า ออกจากศาสนา มูฮัมมัด บิน อิดริส ชาฟีอีย์
ขบวนการของท่านอิมามฮุเซน (อ) เริ่มต้นที่เมืองมักกะฮฺและมุ่งสู่กูฟะฮฺ ขบวนการปฏิวัติของท่านอิมามมะฮฺดี (อ) ก็จะเริ่มที่มักกะฮฺและจะมุ่งสู่กูฟะฮฺเช่นกัน
ขบวนการของท่านอิมามฮุเซน (อ) เริ่มต้นที่เมืองมักกะฮฺและมุ่งสู่กูฟะฮฺ ขบวนการปฏิวัติของท่านอิมามมะฮฺดี (อ) ก็จะเริ่มที่มักกะฮฺและจะมุ่งสู่กูฟะฮฺเช่นกัน
ความสัมพันธ์ระหว่างการปฏิวัติในกัรบาลาอฺกับการปฏิวัติของท่านอิมามมะฮฺดี(อ)
เริ่มตั้งแต่ การกิยามครั้งที่หนึ่งของ ‘กลุ่มเตาวาบีน’ ได้สังหารฆาตกรที่เป็นตัวสำคัญตายไปจำนวนหนึ่ง หลังจากขบวนการของเตาวาบีนถูกทำให้แพ้ลง การกิยามครั้งที่สอง เป็นการกิยามที่ยิ่งใหญ่กว่า ‘เตาวาบีน’ ก็คือ การกิยามของท่านมุคตาร อัซซะกอฟี
ค่ำคืนอาชูรอ คือ ค่ำคืนที่เราจะต้องสรุปเป้าหมายให้ได้ ว่า ทำไมวีรกรรมนี้ถูกกำหนดขึ้นมา? ทำไมพระองค์จึงได้อนุมัติการพลีนี้ให้เกิดขึ้น และอัลลอฮฺ (ซบ.)นั้น มีเป้าหมายสูงสุดคือสิ่งใด? ปราศจากการทำความเข้าใจ ,การรำลึก, การไว้ทุกข์, การร้องไห้ และการหลั่งน้ำตาจะไม่มีประโยชน์เท่าที่ควร เพราะวีรกรรมนี้ไม่ได้ถูกสร้างมาเพียงแค่การไว้ทุกข์ไว้อาลัย 
ค่ำคืนอาชูรอ คือ ค่ำคืนที่เราจะต้องสรุปเป้าหมายให้ได้ ว่า ทำไมวีรกรรมนี้ถูกกำหนดขึ้นมา? ทำไมพระองค์จึงได้อนุมัติการพลีนี้ให้เกิดขึ้น และอัลลอฮฺ (ซบ.)นั้น มีเป้าหมายสูงสุดคือสิ่งใด? ปราศจากการทำความเข้าใจ ,การรำลึก, การไว้ทุกข์, การร้องไห้ และการหลั่งน้ำตา
และพวกเขาได้ให้อาหารแก่คนยากจน เด็กกำพร้าและเชลยศึก ทั้งที่มีความปรารถนาต่อมัน (พวกเขากล่าวว่า) แท้จริงเราให้อาหารแก่พวกท่าน โดยหวังความโปรดปรานของอัลลอฮ์ เรามิได้หวังการตอบแทนและการขอบคุณจากพวกท่านแต่ประการใด
และพวกเขาได้ให้อาหารแก่คนยากจน เด็กกำพร้าและเชลยศึก ทั้งที่มีความปรารถนาต่อมัน (พวกเขากล่าวว่า) แท้จริงเราให้อาหารแก่พวกท่าน โดยหวังความโปรดปรานของอัลลอฮ์ เรามิได้หวังการตอบแทนและการขอบคุณจากพวกท่านแต่ประการใด
การซุญูด (ของมะลาอิกะฮ์ (ทวยเทพ) ต่ออาดัม) ไม่ใช่เป็นการอิบาดะฮ์ (เคารพภักดี) ต่ออาดัม เนื่องจากการอิบาดะฮ์ (เคารพภักดี) สิ่งอื่นนอกเหนือจากพระเจ้านั้นไม่เป็นที่อนุญาต แต่ทว่ามะลาอิกะฮ์ (ทวยเทพ) ได้ทำการซุญูดต่ออาดัมโดยคำสั่งของพระผู้เป็นเจ้า เพื่อเป็นการแสดงความเคารพและให้เกียรติ และในความเป็นจริงแล้วเป็นการซุญูด (ก้มกราบ) เพื่อพระผู้เป็นเจ้า
การซุญูด (ของมะลาอิกะฮ์ (ทวยเทพ) ต่ออาดัม) ไม่ใช่เป็นการอิบาดะฮ์ (เคารพภักดี) ต่ออาดัม เนื่องจากการอิบาดะฮ์ (เคารพภักดี) สิ่งอื่นนอกเหนือจากพระเจ้านั้นไม่เป็นที่อนุญาต แต่ทว่ามะลาอิกะฮ์ (ทวยเทพ) ได้ทำการซุญูดต่ออาดัมโดยคำสั่งของพระผู้เป็นเจ้า
มุบาฮะละฮ์และอาชูรอคือสองเหตุการณ์ในสองห้วงกาลเวลาในประวัติศาสตร์ที่แตกต่าง เหตุการณ์มุบาฮะละฮ์นั้นเกิดขึ้นในวันที่ 23 ซุลฮิจญะฮ์ ปีฮศ. 8 ส่วนเหตุการณ์กัรบะลานั้นเกิดขึ้นในวันที่สิบ เดือนมุฮัรรอม ปีฮศ. 61 แต่ในความแตกต่างทางกาลเวลาและสถานที่นั้น ยังมีความคล้ายคลึงที่สำคัญแฝงอยู่มากมาย หนึ่งในความคล้ายคลึงที่สำคัญก็คือ ทั้งสองเหตุการณ์มี “ครอบครัว”เป็นองค์ประกอบหลัก
มุบาฮะละฮ์และอาชูรอคือสองเหตุการณ์ในสองห้วงกาลเวลาในประวัติศาสตร์ที่แตกต่าง เหตุการณ์มุบาฮะละฮ์นั้นเกิดขึ้นในวันที่ 23 ซุลฮิจญะฮ์ ปีฮศ. 8 ส่วนเหตุการณ์กัรบะลานั้นเกิดขึ้นในวันที่สิบ เดือนมุฮัรรอม ปีฮศ. 61 แต่ในความแตกต่างทางกาลเวลาและสถานที่นั้น
วันที่ 24 เดือนซุลฮิจญะฮ์ ปีฮิจเราะห์ศักราชที่ 10 มีเหตุการณ์สำคัญทางประวัติศาสตร์อิสลามเกิดขึ้น ซึ่งเป็นที่รู้จักในนาม “มุบาฮะละฮ์” อันเป็นที่มาของการประทานโองการอัลกุรอาน โองการที่ 61 จากบทอาลิอิมรอน  มุบาฮะละฮ์ เป็นอีกเหตุการณ์หนึ่งที่พิสูจน์ถึงความประเสริฐและสถานภาพอันยิ่งใหญ่ของอะฮ์ลุลบัยต์ (อ) ของท่านศาสดามุฮัมมัด (ศ)
วันที่ 24 เดือนซุลฮิจญะฮ์ ปีฮิจเราะห์ศักราชที่ 10 มีเหตุการณ์สำคัญทางประวัติศาสตร์อิสลามเกิดขึ้น ซึ่งเป็นที่รู้จักในนาม “มุบาฮะละฮ์” อันเป็นที่มาของการประทานโองการอัลกุรอาน โองการที่ 61 จากบทอาลิอิมรอน  มุบาฮะละฮ์ เป็นอีกเหตุการณ์หนึ่ง
ดังนั้นผู้ใดที่โต้เถียงเจ้า(มุฮัมมัด)ในเรื่องของอีซา(ว่าเป็นบุตรของพระเจ้า) หลังจากที่ได้มีความรู้มายังเจ้าแล้ว จงกล่าวเถิด(มุฮัมมัด)ว่า ท่านทั้งหลาย(ชาวคริสต์)จงมาเถิด เราก็จะเรียกลูก ๆ ของเรา และลูกของพวกท่านและเรียกบรรดาผู้หญิงของเรา และบรรดาผู้หญิงของพวกท่านและตัวของเรา และตัวของพวกท่าน และเราจะมาวิงวอน (ต่อพระเจ้า)กัน ด้วยความนอบน้อม โดยที่เราจะขอให้อัลลอฮ์ทรงลงโทษทัณฑ์แก่บรรดาผู้โกหก" (บทอาลิอิมรอน โองการ 61)
ดังนั้นผู้ใดที่โต้เถียงเจ้า(มุฮัมมัด)ในเรื่องของอีซา(ว่าเป็นบุตรของพระเจ้า) หลังจากที่ได้มีความรู้มายังเจ้าแล้ว จงกล่าวเถิด(มุฮัมมัด)ว่า ท่านทั้งหลาย(ชาวคริสต์)จงมาเถิด เราก็จะเรียกลูก ๆ ของเรา และลูกของพวกท่านและเรียกบรรดาผู้หญิงของเรา
วันที่ 18 ของเดือนซุลฮิจญะฮ์ คือวันอีดฆอดีร และถือเป็นวัน "อีดุลลอฮิ้ลอักบัร" เป็นวันอีดของพระองค์อัลลอฮ์ (ซ.บ) พระผู้ทรงยิ่งใหญ่ และเป็นวันอีดของท่านศาสดามุฮัมมัด (ศ)และบรรดาอะฮ์ลุลบัยต์ (อ)อันบริสุทธิ์
วันที่ 18 ของเดือนซุลฮิจญะฮ์ คือวันอีดฆอดีร และถือเป็นวัน "อีดุลลอฮิ้ลอักบัร" เป็นวันอีดของพระองค์อัลลอฮ์ (ซ.บ) พระผู้ทรงยิ่งใหญ่ และเป็นวันอีดของท่านศาสดามุฮัมมัด (ศ)และบรรดาอะฮ์ลุลบัยต์ (อ)อันบริสุทธิ์
วันแห่งฆอดีรคุมคือวันแห่งตัวแทนของพระผู้เป็นเจ้า หลังจากยุคแห่งศาสดานั้นจะต้องสิ้นสุดลง แล้วเหตุการณ์นั้นถูกสานต่อจากระบบวิลายัตของบรรดาอะอิมมะฮฺ (อ)เข้ามาสู่ระบบของ วิลายะตุ้ลฟะกีฮฺ
วันแห่งฆอดีรคุมคือวันแห่งตัวแทนของพระผู้เป็นเจ้า หลังจากยุคแห่งศาสดานั้นจะต้องสิ้นสุดลง แล้วเหตุการณ์นั้นถูกสานต่อจากระบบวิลายัตของบรรดาอะอิมมะฮฺ (อ)เข้ามาสู่ระบบของ วิลายะตุ้ลฟะกีฮฺ
ทำไมจะต้องเป็นอำนาจที่มาจากพระเจ้า ?? นี่คือเป็นอีกสิ่งหนึ่งที่เราจะต้องศึกษา เราจะต้องทำความเข้าใจ คือเราจะต้องรู้จักศาสนาของเราก่อน
ทำไมจะต้องเป็นอำนาจที่มาจากพระเจ้า ?? นี่คือเป็นอีกสิ่งหนึ่งที่เราจะต้องศึกษา เราจะต้องทำความเข้าใจ คือเราจะต้องรู้จักศาสนาของเราก่อน
อีดที่ถูกขนานนามว่า เป็นอีดแห่ง “อาลีมุฮัมมัด (ศ็อลฯ)” อีดที่ยิ่งใหญ่จากทุกๆอีดที่มีมาในอิสลาม  นั่นก็คืออีดแห่งวันที่ศาสนาของอัลลอฮฺ(ซบ)สมบูรณ์ เพราะในวันนี้ในอดีตนั้น เป็นวันที่อัลลอฮฺ (ซบ)ได้ประทับตรารับรองอิสลามฉบับสมบูรณ์ ให้เป็นศาสนาแก่มวลมนุษยชาติได้ยึดถือและปฏิบัติจวบถึงวันกิยามะฮฺ
อีดที่ถูกขนานนามว่า เป็นอีดแห่ง “อาลีมุฮัมมัด (ศ็อลฯ)” อีดที่ยิ่งใหญ่จากทุกๆอีดที่มีมาในอิสลาม นั่นก็คืออีดแห่งวันที่ศาสนาของอัลลอฮฺ(ซบ)สมบูรณ์ เพราะในวันนี้ในอดีตนั้น เป็นวันที่อัลลอฮฺ (ซบ)ได้ประทับตรารับรองอิสลามฉบับสมบูรณ์ ให้เป็นศาสนาแก่มวลมนุษยชาติ
อิมามอะลี อัลฮาดีย์ อิมามที่สิบแห่งอะฮ์ลุลบัยต์
อิมามอะลี อัลฮาดีย์ สมญานามของท่าน คือ อะบุลฮะซัน ฉายานาม คือ อัลนะกียฺ และอัลฮาดีย์ (อ) ท่านเป็นอิมาม (ผู้นำ) ท่านที่ 10 จากวงศ์วานอะฮ์ลุลบัยต์ของท่านศาสดามุฮัมมัด (ศ) ของบรรดาชีอะฮ์อิมามียะฮ์ ท่านอิมามอะลี ฮาดีย์ (อ) ถือกำเนิดในวันที่ 15 ซุลฮิจญะฮ์
รายงานจาก อิมาเราะฮ์ บิน ญูวัยน์ อบีฮารูน อัลอับดีย์ กล่าวว่า  ฉันได้เข้าหาท่านอบีอับดิลลาฮ์ (อิมามญะอฺฟัร อัศศอดิก (อ) ในวันที่ 18 เดือน ซุลฮิจญะฮ์ ขณะที่ท่านอิมามอยู่ในสภาพที่ถือศีลอด ได้กล่าวว่า แท้จริงวันนี้ คือวันที่ อัลลอฮทรงทำให้มีความยิ่งใหญ่
วันนี้บรรดาผู้ปฏิเสธต่างหมดหวังในศาสนาของสูเจ้า ดังนั้น สูเจ้าจงอย่ากลัวพวกเขา แต่จงกลัวฉัน วันนี้ฉันได้ทำให้ศาสนาของสูเจ้าสมบูรณ์แล้วสำหรับสูเจ้า และฉันได้ประทานความโปรดปรานของฉันอย่างครบถ้วนแก่สูเจ้า และฉันได้เลือกอิสลามเป็นศาสนา[๑]  ความดึงดูดใจของเฆาะดีร[๒] อยู่ที่ความเอื้ออาทร และความรักที่มีอยู่ตลอดหน้าประวัติศาสตร์อิสลาม ซึ่งเป็นความปิติยินดีของคนบางกลุ่ม และเป็นความความข่มขื่นของคนอีกบางกลุ่ม  ขณะที่เฆาะดีร และเหตุการณ์ในวันนั้นเป็นเหตุผลสมบูรณ์สำหรับผู้ที่ปฏิบัติตามแนวทางของอะลี (อ.)
วันนี้บรรดาผู้ปฏิเสธต่างหมดหวังในศาสนาของสูเจ้า ดังนั้น สูเจ้าจงอย่ากลัวพวกเขา แต่จงกลัวฉัน วันนี้ฉันได้ทำให้ศาสนาของสูเจ้าสมบูรณ์แล้วสำหรับสูเจ้า และฉันได้ประทานความโปรดปรานของฉันอย่างครบถ้วนแก่สูเจ้า และฉันได้เลือกอิสลามเป็นศาสนา
แท้จริงอัลลอฮ์ทรงเป็นเมาลา (ผู้คุ้มครอง) ของฉัน และฉันเป็นวะลี (ผู้ปกครอง) ของผู้ศรัทธาทุกคน  จากนั้นท่านศาสดาได้จับมือท่านอาลี (ชูขึ้นเหนือศรีษะ) แล้วกล่าวว่า บุคคลใดก็ตามที่ฉันเป็นวะลีของเขา  ดังนั้นอาลีก็เป็นวะลีของเขา   โอ้อัลลอฮ์โปรดรักผู้ที่เป็นมิตรต่อเขา และโปรดชิงชังผู้ที่เป็นศัตรูต่อเขา
“แท้จริงอัลลอฮ์ทรงเป็นเมาลา (ผู้คุ้มครอง) ของฉัน และฉันเป็นวะลี (ผู้ปกครอง) ของผู้ศรัทธาทุกคน  จากนั้นท่านศาสดาได้จับมือท่านอาลี (ชูขึ้นเหนือศรีษะ) แล้วกล่าวว่า บุคคลใดก็ตามที่ฉันเป็นวะลีของเขา  ดังนั้นอาลีก็เป็นวะลีของเขา  
บทบาทของท่านอิมามมุฮัมมัด บากิร (อ) ต่อโลกอิสลาม
บทบาทที่โดดเด่นของท่านอิมามบากิร (อ) ในยุคที่ท่านอยู่ในฐานะของผู้นำแห่งประชาชาติมุสลิมคือ การวางรากฐานทางวิชาการให้แก่โลกอิสลาม โดยท่านมองว่าสิ่งดีที่สุดสำหรับสถานการณ์ในยุคสมัยที่ท่านดำรงตำแหน่งผู้นำอยู่นั้น เต็มไปด้วยการกดขี่ข่มเหงจากผู้ปกครอง

หน้า